วิทยาการคำนวณ มัธยมศึกษาปีที่ 3

💡หน่วยที่ 1 การใช้เทคโนโลยีอย่างรู้เท่าทัน 

              📀เหตุผลวิบัติ

 💿การใช้งานลิขสิทธ์ที่เป็นธรรม ตอนที่ 1
    📀การใช้งานลิขสิทธ์ที่เป็นธรรม ตอนที่ 2
    💿เช็คให้ชัวร์
    📀รู้เท่าทันฉันปลอดภัย
    💿กฎหมายน่ารู้ 

💡หน่วยที่ 2 การพัฒนาแอปพลิเคชั่น 

      📀ขั้นตอนการพัฒนาแอปพลิเคชัน

        💿การวางแผนการพัฒนา

💡หน่วยที่ 3 สร้างสรรค์ผลงานด้วยภาษาไพทอน

 📀การสร้างส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ ตอนที่ 1
    📌แบบฝึกท้าย VDO ตอนที่ 1 📌
    💿การสร้างส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ ตอนที่ 2
    📌แบบฝึกท้าย VDO ตอนที่ 2 📌

💡หน่วยที่ 4 การประมวลผลข้อมูล
📀ดาด้าที่ท้าทาย ตอนที่ 1
💿ดาด้าที่ท้าทาย ตอนที่ 2

 💡หน่วยที่ 5 อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง
📀องค์ประกอบไอโอที

💿กรณีศึกษา 

💡หน่วยที่ 3 สร้างสรรค์ผลงานด้วยภาษาไพทอน💡

💿การสร้างส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ ตอนที่ 1💿

สาระสำคัญ

      การเขียนโปรแกรมที่มีส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้จะช่วยให้มองเห็นภาพรวมของโปรแกรมได้ดีขึ้นใช้งานง่ายและมีความน่าสนใจในภาษาไพทอน สามารถทำได้โดยการใช้ tkinter ซึ่งเป็นโมดูลที่ช่วยในการเขียนโปรแกรมที่มีส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้


สื่อการเรียนรู้

1) คลิปวิดีโอ เรื่อง การสร้างส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ ตอนที่1  ที่ YouTube Proj14 วิชาวิทยาการคำนวณ ม.3 ภายใต้โครงการ Project 14 ของ สสวท. 

📝 ใบกิจกรรม การสร้างส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ ชิ้นที่ 1 📝

💿 การสร้างส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ ตอนที่ 2  💿

สาระสำคัญ

      การเขียนโปรแกรมที่มีส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้จะช่วยให้มองเห็นภาพรวมของโปรแกรมได้ดีขึ้นใช้งานง่ายและมีความน่าสนใจในภาษาไพทอน สามารถทำได้โดยการใช้ tkinter ซึ่งเป็นโมดูลที่ช่วยในการเขียนโปรแกรมที่มีส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้


สื่อการเรียนรู้

1) คลิปวิดีโอ เรื่อง การสร้างส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ ตอนที่2  ที่ YouTube Proj14 วิชาวิทยาการคำนวณ ม.3 ภายใต้โครงการ Project 14 ของ สสวท. 

📝 ใบกิจกรรม การสร้างส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ ชิ้นที่ 2 📝